สื่อมัลติมีเดีย (Multi-Media)
Multimedia : ความหมายและนิยามศัพท์ที่เกี่ยวข้อง
สื่อมัลติมีเดีย ( Multimedia ) หรือชื่อเรียกในภาษาไทยว่า “สื่อประสม” จะมีการนิยามความหมายและเรียกชื่อแตกต่างกันหลายชื่อ อาทิเช่น
1. สื่อประสม 2 หมายถึงการนาเอาสื่อหลายๆประเภทมาใช้ร่วมกันทั้งวัสดุ อุปกรณ์ และเทคนิควิธีการเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการเรียนการสอน
2. สื่อมัลติมีเดีย 3 หรืออาจเรียกสื่อประสม หรือสื่อหลายแบบ ซึ่งพจนานุกรมศัพท์คอมพิวเตอร์ฉบับราชบัณฑิตยสถานให้ความหมายว่า หมายถึงการใช้อุปกรณ์ต่างๆเพื่อร่วมกันนาเสนอข้อมูลเป็นหลัก โดยเน้นผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากเทคนิคการนาเสนอ
มัลติมีเดีย ( Multimedia Presentation )
คอมพิวเตอร์ช่วยสอนด้วยระบบมัลติมีเดีย ( Multimedia CAI ) และคอมพิวเตอร์ระบบมัลติมีเดีย ( Multimedia Computer Systems ) หากพิจารณาการใช้จะพบว่าเป็นการนาเอา Hardwareและ Software ไว้ด้วยกันส่วนที่จะเน้นส่วนไหนมากหรือน้อยจะขึ้นอยู่กับจุดประสงค์และลักษณะของการใช้
3. มัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ 4 เป็นสื่อมัลติมีเดียที่เน้นการให้ผู้ใช้เป็นผู้ควบคุมการนาเสนอ
4. ไฮเปอร์มีเดีย( Hypermedia )5 เป็นสื่อมัลติมีเดียที่มีการนาเสนอข้อมูลทั้งภาพและเสียง ข้อความ ภาพเคลื่อนไหว มีการให้คาแนะนาวิธีการใช้และวิธีความคุมเส้นทางโปรแกรมผ่านหน้าจอคอมพิวเตอร์ รวมทั้งสามารถเชื่อมโยงไปยังข้อมูลต่างๆได้อย่างหลากหลายรูปแบบ
5. ไฮเปอร์เท็กซ์ ( Hypertext )6 เป็นรูปแบบการนาเสนอข้อมูลทั้งที่เป็นข้อความ รูปภาพและเสียง โดยใช้คอมพิวเตอร์เชื่อมโยงข้อมูลเข้าด้วยกัน เมื่อต้องการสืบค้นข้อมูลผู้ใช้เพียงกาหนดหัวข้อที่ต้องการก็จะทราบข้อมูลนั้นๆในเวลาอันรวดเร็ว
คุณประโยชน์ของสื่อมัลติมีเดียต่อการเรียนการสอน
สื่อมัลติมีเดีย ( Multimedia ) หรือสื่อประสมจะมีบทบาทและจะเอื้อประโยชน์ต่อการเรียนรู้และการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพในประเด็นสาคัญดังต่อไปนี้กล่าวคือ 9
1. เนื้อหาบทเรียนในรูปแบบสื่อมัลติมีเดียหรือสื่อประสมจะช่วยในการสื่อสารความรู้จากผู้สอนหรือจากแหล่ง ส่งไปยังผู้เรียนได้อย่างกระจ่างชัดกว่าบทเรียนจากเนื้อหาธรรมดา
2. เอื้อต่อการเรียนรู้แบบยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ทั้งนี้เนื่องจากผู้เรียนสามารถเลือกหรือกาหนด
3. สามารถใช้กับการเรียนในทุกรูปแบบและทุกสภาวการณ์ เนื่องจากการใช้สื่อประสมสามารถใช้ได้หลากหลายวิธีการเพื่อจัดการเรียนการสอนที่ดีที่สุดแก่ผู้เรียน
4. กระตุ้นให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์เชิงโต้ตอบกับบทเรียน ทาให้เป็นการเรียนรู้แบบกระฉับกระเฉง ผู้เรียนมีความกระตือรือร้นในการแสวงหาข้อมูลความรู้หลากหลายรูปแบบ
5. เสริมการเรียนรู้แบบร่วมมือ เชิงทดลอง และแบบ story line